Sunday, January 19, 2020

Eye-opening ceremony for Phra Siwali Image by Buakaw Banchamek: พิธีเบิกเนตรพระสิวลี


Eye-opening ceremony for Phra Siwali Image. Made from fossilized hardwood by Buakaw Banchamek at
Wat Takian temple, Samrongthab Sub-district,
  Samrongthab District, Surin Province, the hometown of Buakaw Banchamek in the Northeastern region of Thailand


       Surin Province


พิธีเบิกเนตรพระสิวลี ทำจากไม้กลายเป็นหิน 
สร้างโดยบัวขาว บัญชาเมฆ
วัดตะเคียน ต.สำโรงทาบ อ.สำโรงทาบ จ.สุรินทร์ 
ซึ่งเป็นบ้านเกิดของเขา



พระสีวลีเถระ หรือ พระสีวลี เป็นพระภิกษุสาวกเอตทัคคะของพระพุทธเจ้า นับเนื่องในพระอสีติมหาสาวก 80 องค์สำคัญในพระพุทธศาสนาในสมัยพุทธกาล

พระสีวลีเถระเป็นเจ้าชายในโกลิยวงศ์ ออกบวชในสำนักพระสารีบุตร บรรลุพระอรหันต์ในขณะที่ปลงเกศานั่นเอง และหลังจากผนวช ท่านเป็นผู้มีลาภสักการะมากด้วยกุศลกรรมที่ทำมาแต่อดีต ด้วยเหตุนี้ท่านจึงได้รับยกย่องจากพระพุทธองค์ให้เป็นเอตทัคคะผู้เลิศในทาง ผู้มีลาภมาก

                       
                               Pra Sewali


Sīvali (Pali: Sīvali;  Thai: พระสีวลี RTGS: phra siwali; Chinese: 尸婆羅) is an arhat widely venerated among Theravada Buddhists. He is the patron saint of travel and is believed to ward off misfortunes at home such as fire or theft. His veneration predates the introduction of Theravada Buddhism into Burma.

Sīvali is typically depicted standing upright and carrying a walking staff, an alms bowl and Buddhist prayer beads. Born to Queen Suppavasa, Sīvali is believed to have remained in his mother's womb for seven years because of past karma. After a week in labor, Sīvali's mother gave birth to a precocious boy who could immediately speak. Thereafter, Gautama Buddha's chief disciple, Sariputta, admitted Sīvali into the sangha. The Burmese believe that he is still living, that he can be invoked to come by a special incantation and that his mere invisible presence will bring them prosperity and good fortune.











Eye-opening ceremony for Phra Siwali












Buakaw Banchamek

































สมบัติ บัญชาเมฆ หรือบัวขาว เกิดและเริ่มชีวิตอาชีพมวยไทย ตั้งแต่อายุ 8 ขวบ ที่อำเภอสำโรงทาบ จังหวัดสุรินทร์ จากนั้น เขาได้เข้ากรุงเทพมาสังกัดค่ายมวย ป.ประมุข เมื่ออายุ 15 ปี 

Buakaw Banchamek  is a Thai middleweight Muay Thai kickboxer of Kuy descent, who formerly fought out of Por. Pramuk Gym, in Bangkok, Thailand, under the ring name Buakaw Por. Pramuk (Thai: บัวขาว ป.ประมุข).

He is a former two-time Omnoi Stadium champion, Lumpinee Stadium Toyota Marathon champion, former #1-ranked fighter in Lumpinee Stadium, Thailand Featherweight champion and two-time K-1 World MAX champion. As of 1 November 2018, he is ranked the #10 lightweight in the world by Combat Press






































Saturday, January 11, 2020

Saran Suwannachot : Kru Nick

























































Experiences in life and cultivation of feelings and emotions have given me a certain
outlook on society that is in contrast with the beauty in my mind. My memories of being brought
up in the old ways of a culture that is about to fade away due to global changes at the same time
that my ideas become more and more alienated from society, causes me to question the faith I
once had, because I used to believe strongly and firmly that “faith” is an ideal that makes us feel
steadfast and stable, that life should not be without “faith” and that one cannot live without
“faith”; but sometimes holding on to “faith” is not enough to deal with the realities of life. In my
artistic expressions I create paintings initially from photographs. Looking through the lens of a
camera connects what is outside and what is inside my mind; this is abstract in nature and
implicates my feelings and thoughts. The person who appears in the images is like a substitute
showing my feelings and emotions in a concrete manner.
The result of this study is an answer I received through the process of thinking and
practice, namely that my “faith” has not disappeared but has become a process of learning that
makes my “faith” even more strong; especially “faith in myself” is what I have learned and now
truly understand. 

Saran Suwannachot (Kru Nick )





Muay Jerng The Rhythm of Lanna Muay Movement



Saran Suwannachot at โฮงเฮียนสืบสานภูมิปัญญาล้านนา.

                                  Kru Nick 




















































































































































Lanna Wisdoms School (โฮงเฮียนสืบสานภูมิปัญญาล้านนา)

ชุมชนล้านนามีวิถีชีวิตที่สัมพันธ์อยู่กับความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติอย่างเกื้อกูลกันและกันยาวนานรวมทั้งได้ร่วมกันสร้างสรรค์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ทั้งในเรื่องอาหาร ยารักษาโรค งานหัตถกรรมการเกษตรพื้นบ้าน การจัดการทรัพยากรที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตและวัฒนธรรมประเพณีและมีการปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของสังคมอย่างต่อเนื่อง แต่จากการพัฒนาในช่วงที่ผ่านมาได้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อวิถีชีวิต ภูมิปัญญาถูกละเลยจนน่าเป็นห่วง ขาดการสืบทอดจากผู้รู้และพอครูแม่ครู โดยเฉพาะคนรุ่นใหม่ ส่วนใหญ่หลงใหลไปกับวัฒนธรรมภายนอกและไม่ได้มีการสืบทอดความรู้ ภูมิปัญญาจากพ่อครูแม่ครูเหล่านี้เลย

ในราวต้นปี ๒๕๔๐ องค์กรต่างๆทั้งภาครัฐ องค์กรปกครองท้องถิ่น ภาคธุรกิจ สถาบันวิชาการ นักเขียน ศิลปิน กลุ่มศิลปวัฒนธรรม องค์กรพัฒนาเอกชนและองค์กรชุมชน ได้ปรึกษาหารือตกลงใจร่วมกันว่าควรประสานงานกับคน ทุกกลุ่ม ได้เข้ามาร่วมจัดกิจกรรมเพื่อให้เกิดการสืบทอด ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยร่วมกันจัดงาน”สืบสานล้านนา”ในช่วงต้นเดือนเมษายนของทุกปี ติดต่อกันมาเป็นเวลา ๕ ปี หวังว่าจะส่งผลต่อการมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่นที่อยู่พื้นฐานวัฒนธรรม ภูมิปัญญาของท้องถิ่นร่วมกันในอนาคต

อย่างไรก็ตาม แม้ว่าจะได้มีความพยายามขององค์กร ชุมชน กลุ่มคนในท้องถิ่น ภาครัฐ ธุรกิจเอกชน ได้เข้าไปส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการสืบทอดอย่างต่อเนื่องในบางชุมชนและมีการจัดงาน “สืบสานล้านนา” ขึ้นในช่วงเดือนเมษายนติดต่อกันมาทุกปีตั้งแต่ปี ๒๕๔๐ เป็นต้นมา ก็ยังไม่สามารถก่อให้เกิดการ สืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีอยู่ให้มีความต่อเนื่องและมีกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีความหลากหลายได้

พระเดชพระคุณเจ้าหลวงพ่อพระพุทธพจนวราภรณ์ (พระธรรมดิลก) วัดเจดีย์หลวง จ.เชียงใหม่ ได้ให้แนวคิดว่า “การจะสืบสานวัฒนธรรม ภูมิปัญญาล้านนาให้เกิดผลนั้น การจัดงานสืบสานล้านนาเพียงปีละครั้ง ๆ ละ ๔ วัน ไม่สามารถทำให้เกิดผลได้จริง ต้องมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เรียกว่าทุกลมหายใจเลย จึงจะเป็นจริง”
คณะกรรมการจัดงานสืบสานล้านนาได้นำมาปรึกษาหารือมีความเห็นร่วมกันว่าจะต้องทำโครงการที่จะให้เกิดการสืบสานภูมิปัญญาพื้นบ้านล้านนาอย่างต่อเนื่อง จึงเป็นที่มาของการก่อตั้ง “โฮงเฮียนสืบสานภูมิปัญญาล้านนา” ขึ้นในปี ๒๕๔๓ และได้ดำเนินกิจกรรมในการรวบรวมองค์ความรู้ พ่อครู แม่ครู และปราชญ์ชาวบ้านเพื่อทำการถ่ายทอดองค์ความรู้ภูมิปัญญาให้กับลูกหลานและผู้สนใจในท้องถิ่น ได้เกิดการเรียนรู้และสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นสาขาต่าง ๆ นอกจากนั้นยังเป็นการพัฒนาองค์ความรู้ของท้องถิ่นที่มีอยู่ให้มีรูปแบบที่หลากหลาย เพื่อให้คนรุ่นใหม่สามารถสืบสานได้อย่างต่อเนื่อง โดยในระยะแรกทางคณะกรรมการและผู้ดำเนินงานได้มีการประสานงานกับพ่อครูแม่ครู ผู้รู้ในท้องถิ่นเปิดสอนวิชาภูมิปัญญาแขนงต่าง ๆ และเปิดรับสมัครนักเรียนและผู้สนใจเข้าเรียนรู้ภูมิปัญญาพื้นบ้านแขนงต่าง ๆ อาทิ การทอผ้า การตัดกระดาษตัดตุง ทำโคม ดนตรีพื้นบ้าน ฟ้อนรำพื้นบ้าน การวาดรูปล้านนา อาหารพื้นบ้าน แกะสลัก จักสาน งานปั้น เป็นต้น มีผู้ให้ความสนใจเข้าเรียนรู้เป็นจำนวนมาก

วัตถุประสงค์

เพื่อรวบรวมผู้รู้ พ่อครู แม่ครู ช่างพื้นบ้านในแขนงต่าง ๆ ที่มีอยู่ในชุมชนล้านนา
ศึกษารวบรวยมข้อมูล องค์ความรู้พื้นบ้านออกมาในรูป ของตำราที่คนรุ่นใหม่ศึกษาได้
จัดทำหลักสูตร จัดอบรมระยะสั้น
เผยแพร่ให้ความรู้แก่สาธารณชนให้เห็นความ สำคัญของการศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่น
ประสานเครือข่ายทั้งภาครัฐ เอกชน ในการดำเนินกิจกรรมที่เกี่ยวข้องต่าง
หลักสูตรที่เปิดสอน

ภาษาล้านนา
ดนตรีพื้นเมือง
จักรสาน
แต่งคร่าว-ซอ
ฟ้อนพื้นเมือง
วาดรูปล้านนา
การทำตุง-โคม
ฟ้อนดาบ-ฟ้อนเจิง
ของเล่นเด็ก
พิธีกรรม
การทอผ้า
การปั้น
เครื่องเขิน
แกะสลัก
วิชาทางด้านสล่าเมือง




Address: 35 Rattanakosin Rd, Tambon Wat Ket, Mueang Chiang Mai District, Chiang Mai 50000

THAILAND 

Phone: 053 244 231


ขอบคุณ : บัญชา ทองโกมล


Lakey Inspired