King Naresuan Alive in Film
Janine Yasovant : Writer
As exotic and mysterious as Thailand may seem, its history has striking similarities to European history. Kingdoms rise and fall, dynasties bloom and wither, political intrigue is spurred by greed and the clash of cultures.
If a film about Thai history, for both knowledge and entertainment, tells us about the monarchy of Thailand from the past to the present, it must reveal that Thai kings in the past worked hard for their people.
King Naresuan, produced and directed by MC Chatrichalerm Yukol (known in the industry as Tan Mui) is just that type of film: an epic with elaborate production values, yet a film that firmly reveals the humanity and heart of historical kings.
They were leaders of vast armies and fought for their beloved countries, either for a new colony or to defend their own territory. Some Thai kings were slain in battle. Astonishingly, women also took part in wars and fought like men no matter what their class. The leader of a defeated kingdom was forced to send his son and daughter as hostages along with tribute such as troops, supplies, weapons, horses, and elephants to the victor.
Nearly 500 years ago, the great Ayothaya Empire arose in Thailand and the City of Pitsanulok was its barrier fortress.
In the year 1559, the neighboring and aggressive Burmese invaded the city of Pitsanulok. Phra Maha Thammaracha, the king of Pitsanulok, surrendered to the enormous military force from Burma because the Ayothaya Empire did not send reinforcements to aid in the war. Phra Naresuan, the young prince from the city of Pitsanulok and a son of Phra Mahathammaracha, was taken as a hostage when he was only nine years old and then was accepted to be a foster son of Bayinnaung the King of Burma.
Some years later, his older sister, Phasupankalaya, was sent to Burma, as well, as a concubine of King Bayinnaung. Later, Phra Naresuan was educated by a Buddhist monk called "Phramahaterakanchong" who was also a teacher of the King. He trained Phra Naresuan in the martial arts, literature, politics, and art of war.
It was common at that time that the defeated empire would send a princess to marry with the victorious king. It was an accepted tradition. But before the coming to Burma of Phrasupankalaya, the princess of Pitsanulok and older sister of Phra Naresuan, a secret strategy was put into play. A princess of the Ayothaya Empire and the second daughter of the Queen Suriyothai named "Phrathepkasattri" was unwillingly married with the King of the Lanchang empire in exchange for the reinforcements against Burma. Phra Mahathammaracha discovered the scheme of the Ayothaya Empire and told the King Bayinnaung to send troops to kidnap Phrathepkasattri. After Phrathepkasattri met the King Bayinnaung, she refused his offer and committed suicide instead.
For 15 years, all the people of the then-called Siam including Phra Naresuan lost their independence and were controlled by Burma. In 1584, three years after the King Bayinnaung died, the tributary relation of Siam with Burma was broken, which was inevitably followed by a vigorous attack by the Burmese army. Phra Naresuan emerged and fought back against the attack, and in 1586 he occupied Lanna, a buffer state between two kingdoms.
In 1590, King PhraMahathammaracha passed away, and Phra Naresuan officially became the leader of the Ayothaya Empire, King Naresuan. In 1591 the Burmese launched another attack to reclaim their lost territories. It was thwarted when the Burmese crown prince Minchit Sra was killed by Naresuan in a duel, a combat on elephants.
The following year Naresuan himself attacked Tenasserim (a city state of Burma at the time), as well as Cambodia in 1593. The Thais call him "The Great" because he extended (and united) Ayothaya (the capital of the Thai state) to include Lanna, Lanchang, Cambodia and some parts of Burma. He enforced strict discipline on his soldiers and the people. During his reign, Ayothaya was a very secure and powerful state.
To adapt Thai history and make it into a film for director. Thai people and foreigners who want to know about Thai history, was not an easy task for Tan Mui. He spent a great deal of time in research in order to uncover the facts and truth of the historical events and to capture the look and feel of the times. It took nearly 7 years and 700 million baht ($20 million) to film this historical epic. Tan Mui said that he was proud that the film is a historical-based theatrical film and not a documentary.
King Naresuan is an enjoyable experience for audiences. Reality and imagination are blended together nicely. Siam and Burma at that time were not so different in religious belief because both empires were Buddhist. Tan Mui created detailed spectacular scenes to clarify the confusion in history books. With this film, he tried to elevate the standard of Thai movies to a higher level. Tan Mui also illustrated the brilliant strategies that Naresuan used to fight the Burmese empire many times after Siam declared its freedom. Although Naresuan did not have enough soldiers to fight against the superior Burmese forces, in the end he and his army managed to achIn 1590, King PhraMahathammaracha passed away, and Phra Naresuan officially became the leader of the Ayothaya Empire, King Naresuan. In 1591 the Burmese launched another attack to reclaim their lost territories. It was thwarted when the Burmese crown prince Minchit Sra was killed by Naresuan in a duel, a combat on elephants.
http://www.scene4.com/archivesqv6/mar-2007/html/janineyasovant0307.html
ถึงแม้ประเทศไทยดูเหมือนว่าจะแปลกถิ่นและลึกลับ แต่ประวัติศาสตร์มีความเหมือนกับประวัติศาสตร์ของยุโรป อาณาจักรต่างๆรุ่งเรืองและล่มสลาย ราชวงศ์ต่างๆ เบ่งบานและโรยรา กลอุบายทางการเมืองที่ถูกปลุกเร้าด้วยความโลภและความขัดแย้งทางวัฒนธรรม
ถ้าภาพยนตร์เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทยที่มีทั้งความรู้และความบันเทิงบอกเราเกี่ยวกับสถาบันกษัตริย์ของไทยจากอดีตถึงปัจจุบันก็จะพบว่าพระมหากษัตริย์ไทยในอดีตทรงงานหนักเพื่อพสกนิกรปวงชน
ภาพยนตร์เรื่อง "ตำนานสมเด็จพระนเรศวร" ได้รับการสร้างและกำกับโดยหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล หรือที่รู้จักกันว่าท่านมุ้ยภาพยนตร์เรื่องนี้มีลักษณะตามที่ได้กล่าวมาข้างต้น เป็นเรื่องราวที่มีคุณค่าการสร้างอย่างประณีต ภาพยนตร์ที่เปิดเผยความเป็นมนุษย์และหัวใจของพระมหากษัตริย์ไทยในอดีตแทบทุกพระองค์ทรงเป็นผู้นำกองทัพขนาดใหญ่และทรงต่อสู้เพื่อประเทศอันเป็นที่ รัก ไม่ว่าเพื่อเมือง
อาณานิคมแห่งใหม่หรือปกป้องเขตแดน บางพระองค์ถูกปลงพระชนม์กลางสนามรบ ที่น่าประหลาดใจก็คือสตรีมีบทบาทและต่อสู้ได้เช่นเดียวกับ บุรุษไม่ว่าจะมียศระดับใด พระราชาของประเทศที่พ่าย
แพ้ก็จะต้องส่งเจ้าชายและเจ้า หญิงไปเป็นตัวประกันพร้อมทั้งเครื่องบรรณาการต่างๆ เช่นกองทหาร เสบียง อาวุธ ม้า และช้างให้กับผู้ชนะ
เป็นเวลาเกือบ 500 ปีผ่านมาแล้วอาณาจักรอโยธยาและมีหัวเมืองพิษณุโลกเป็นป้อมปราการคุ้มกัน
ในปีพ.ศ2102พม่าได้ยกทัพมารุกรานเมืองพิษณุโลกพระมหาธรรมราชา พระราชาที่ปกครองเมืองพิษณุโลกได้ยอมจำนนให้กับกองทัพอันมากมายมหาศาลของพม่า เพราะอาณาจักอโยธยาไม่ได้ส่งกำลังมาช่วยเหลือในสงครามพระนเรศวร เจ้าชายจากเมืองพิษณุโลกและบุตรชายของพระมหาธรรมราชาถูกจับเป็นองค์ประกันเมื่อพระองค์มีพระชันษาเพียงเก้าปีและได้เป็นบุตรบุญธรรมของพระราชาบายินนอง(บุเรงนอง) กษัตริย์ของพม่า
หลายปีต่อมา พี่สาวของพระนเรศวรที่มีพระนามว่า พระสุพรรณกัลยาถูกส่งตัวมาที่พม่าเช่นกันในฐานะเป็นนางสนมของพระราชาบายินนองพระนเรศวรได้รับการศึกษาโดยพระสงฆ์ศาสนาพุทธที่มีนามว่า
"พระมหาเถรคันฉ่อง" ซึ่งเป็นอดีตพระอาจารย์ของพระราชาบายินองท่านได้สอนพระนเรศวรในเรื่องศิลปะการต่อสู้วรรณกรรมการเมืองการปกครอง และพิชัยสงคราม
เป็นเรื่องธรรมดาในตอนนั้นที่อาณาจักรที่ปราชัยจะส่งจะส่งเจ้าหญิงให้ไป เข้าพิธีสมรสกับพระราชาฝ่ายผู้ชนะ นี่เป็นธรรมเนียมปฏิบัติที่เป็นที่ยอมรับแต่ก่อนหน้าการมาถึงพม่าของพระสุพรรณกัลยาเจ้า
หญิงแห่งอาณาจักรอโยธยาและบุตรสาวคนที่สองของพระราชินีสุริโยทัยที่มีพระนามว่า "พระเทพกษัตรี"ผู้ที่ไม่เต็มใจสมรสกับพระราชาแห่งอาณาจักรล้านช้าง ในการแลกเปลี่ยนกำลังเสริมในการต่อต้านพม่าพระมหาธรรมราชาได้พบแผนการณ์ของอาณาจักรอโยธยาและได้บอกให้พระราชาบายินนองส่ง ทหารไปลักพาพระเทพกษัตรีหลังจากที่พระเทพกษัตรีได้พบกับพระราชาบายินนองแล้วพระเทพกษัตรีทรงปฏิเสธข้อเสนอของพระราชาบายินนองจากนั้นและได้ทำการอัตวินิบาตกรรมเป็นเวลาถึง15 ปีที่ที่ประชนชนในตอนนั้นเรียกตัวเองว่าเป็นชาวสยาม รวมทั้งพระนเรศวรได้สูญเสียอิสรภาพและถูกควบคุมโดยชาวพม่า ใน ปีพ.ศ.2127สามปีหลังจากที่พระราชาบายินนองเสด็จสวรรคตความสัมพันธ์ระหว่าง ระหว่างสยามและพม่าพังทลายลงจึงหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะตามด้วยการ จู่โจมอย่างหนักหน่วงจากทัพพม่าพระนเรศวรทรงออกมาตอบโต้ และใน ปี พ.ศ. 2129พระองค์ได้ครองเมืองล้านนาซึ่งเป็นเมืองกันชนระหว่างสองอาณาจักร ในปี พ.ศ. 2133สมเด็จพระมหาธรรมชาเสด็จสวรรคต และพระนเรศวรกลายเป็นผู้นำอย่างเป็นทางการของอาณาจักรอโยธยา ทรงมีพระนามว่าสมเด็จพระนเรศวรปีต่อมา พ.ศ. 2134 ทัพพม่าโจมตีอีกครั้งเพื่อกอบกู้เมืองที่เสียไป พระมหาอุปราชาถูกปลงพระชนม์โดยพระนเรศวรในการกระทำยุทธหัตถีบนหลังช้าง
ปีถัดมาสมเด็จพระนเรศวรยกทัพไปตีเมืองตะนาวศรี(เมืองของพม่าในขณะนั้น) และกัมพูชาในปี พ.ศ. 2136 ชาวไทยขนานนามพระองค์ว่ามหาราช เนื่องจาก พระองค์ขยับขยายและรวบรวมอโยธยา ล้านนา
ล้านช้าง กัมพูชา และบางส่วน ของพม่าพระองค์ได้ตรากฎระเบียบอย่างเข้มงวดกับเหล่าทหารและประชาชน ในช่วงเวลาที่ครองราชย์ อโยธยาเป็นเมืองที่ปลอดภัยและทรงอำนาจ การดัดแปลงประวัติศาสตร์ไทยให้เป็นภาพยนตร์สำหรับคนไทยและชาวต่างชาติที่ต้องการทราบประวัติศาสตร์ไทยไม่ใช่งานที่ง่ายดายนักท่านมุ้ยได้ใช้เวลามาก มายในการค้นคว้าเพื่อที่จะเปิดเผยข้อเท็จจริงและ
เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์และเพื่อการจับต้องการมองเห็นและความรู้สึกในเวลานั้น ใช้เวลาทำกว่า 7ปีและค่าใช้จ่ายกว่า700 ล้านบาท(20ล้านเหรียญสหรัฐ) เพื่อที่จะถ่ายทำภาพยนตร์ประวัติศาสตร์
เรื่องนี้ท่านมุ้ยรู้สึกภาคภูมิใจว่าเรื่องนี้เป็นภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์ไม่ใช่สารคดี
ตำนานสมเด็จพระนเรศวรเป็นประสบการณ์ที่สนุกสนานสำหรับผู้รับชมความจริงและจินตนาการถูกผสมผสานเข้ากันอย่างดี สยามและพม่าในเวลานั้นแทบไม่ต่างกันในเรื่องความเชื่อทางศาสนาเพราะทั้งสอง
อาณาจักรเป็นชาวพุทธ ท่านมุ้ยได้สร้างฉากที่น่าตื่นเต้นมีรายละเอียด เพื่อที่จะคลายความสงสัยในหนังสือพงศาวดาร ด้วยภาพยนตร์เรื่องนี้ ท่านได้พยายามยกระดับ ภาพยนตร์ไทยไห้ก้าวขึ้นไปอีกระดับ
ท่านมุ้ยยังได้แสดงภาพกลยุทธที่พระนเรศวรใช้ในการต่อสู้กับพม่าหลายครั้งหลังจากประกาศอิสรภาพ แม้ว่าพระนเรศวรไม่มีทหารเพียงพอสำหรับทำศึกต่อต้านทัพพม่าที่มีกำลังพลมากกว่าในที่สุดแล้วพระองค์และกองทหารก็ได้รับชัยชนะ เหมือนเป็นความท้าทายสำหรับนักสร้างหนังมันไม่ง่ายเลยที่จะเป็นพระราชาที่ดีและประสบความสำเร็จได้ในเวลาเดียวกัน
No comments:
Post a Comment